กระดูกเบ้าฟันอักเสบคืออะไร

หลังการถอนฟัน จะมีก้อนเลือดเกิดขึ้นในเบ้าฟัน พื้นที่ซึ่งเคยยึดฟันไว้ และปิดบริเวณนั้นเพื่อรักษาแผล กระดูกเบ้าฟันอักเสบเกิดขึ้นเมื่อก้อนเลือดแตกหรือหลุดออก เผยกระดูกและปลายประสาทออกมา ห้าวันแรกหลังการถอนฟันสำคัญยิ่ง และในช่วงเวลาดังกล่าวมีความเสี่ยงที่จะเกิดอาการ กระดูกเบ้าฟันอักเสบสูงที่สุด กระดูกเบ้าฟันอักเสบอาจทำให้ปวดมาก! หากคุณคิดว่าคุณมีอาการดังกล่าว ควรไปพบทันตแพทย์ทันที

การรักษา

โดยทั่วไป ทันตแพทย์ของคุณจะล้างเบ้าฟันที่ว่าง เอาเศษอาหารออก และใส่ยาตกแต่งไว้เพื่อป้องกันและลดอาการปวด ทันตแพทย์ยังอาจสั่งยาแอนตี้ไบโอติกให้เพื่อป้องกันการติดเชื้อและยาแก้ปวดเพื่อบรรเทาอาการปวด ทันตแพทย์อาจแนะนำอาหารหรือเครื่องดื่มที่คุณ สามารถรับประทานได้และวิธีการทำความสะอาดและดูแลบริเวณเบ้าฟัน ด้วยการดูแลและพักผ่อนอย่างเหมาะสม กระดูกเบ้าฟันอักเสบควรได้รับการรักษาและ หายภายใน 7-10 วัน ทันตแพทย์ของคุณอาจขอนัดเพื่อติดตามผล การรักษาและดูว่าคุณเป็นอย่างไรบ้าง

© Copyright Colgate-Palmolive Company 2011

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ความรู้ในเรื่องสุขภาพช่องปากทั่วไป ไม่ได้ใช้เพื่อแทนคำแนะนำ การวินิจฉัย หรือการรักษาจากผู้เชี่ยวชาญด้านทันตกรรม หากคุณมีคำถามเกี่ยวกับอาการหรือการรักษาทางการแพทย์ โปรดขอคำแนะนำจากทันตแพทย์หรือผู้ให้บริการด้านสุขภาพที่มีคุณสมบัติเหมาะสม

แบบทดสอบเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก

อะไรคือสิ่งที่อยู่เบื้องหลังรอยยิ้มของคุณ

ทำแบบประเมินสุขภาพช่องปากของเราเพื่อให้กิจวัตรการดูแลช่องปากของคุณเกิดประโยชน์มากที่สุด

แบบทดสอบเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก

อะไรคือสิ่งที่อยู่เบื้องหลังรอยยิ้มของคุณ

ทำแบบประเมินสุขภาพช่องปากของเราเพื่อให้กิจวัตรการดูแลช่องปากของคุณเกิดประโยชน์มากที่สุด

บทความที่เกี่ยวข้อง

ฟลูออไรด์

ฟลูออไรด์ในน้ำดื่มส่งผลต่อฟันผุในผู้ใหญ่อย่างไร

ฟลูออไรด์ในน้ำดื่มช่วยป้องกันฟันผุได้อย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร มาเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับฟลูออไรด์ในน้ำดื่มกัน อ่านข้อมูลจากคอลเกต ได้ที่นี่

ฟลูออไรด์

อะไรคือยาสีฟันผสมสแตนนัสฟลูออไรด์

ยาสีฟันผสมสแตนนัสฟลูออไรด์ช่วยดูแลช่องปากที่ดีเมื่อใช้เป็นประจำทุกวันเพื่อสุขภาพช่องปากที่ดี คอลเกตให้ข้อมุลเพิ่มขึ้นได้ที่นี่

ฟลูออไรด์

ฟลูออไรด์ทำอะไรได้บ้าง?

ฟลูออไรด์สามารถปกป้องรอยยิ้มของคุณให้แข็งแรง สวยสดใสไปนาน ๆ ได้ หากคุณสงสัยว่าฟลูออไรด์ช่วยปกป้องสุขภาพในช่องปากได้อย่างไร พบคำตอบได้ที่นี่